วันพุธที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนประจำวันพุธที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560


บันทึกการเรียนครั้งที่ 5 


เพื่อนกลุ่มที่ 6 นำเสนอ


ศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย




คือ ศูนย์เลี้ยงดูเด็กเล็กให้เจริญเติบโตและมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์

จิตใจ สังคม และสติปัญญาที่สมบูรณ์


มหาวิทยาลัยมหิดล

เปิดหลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาชา พัฒนาการมนุษย์

ก่อตั้ง สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว  

มีการจัดตั้ง “ ศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย ”

กลุ่มข้าพเจ้า กลุ่มที่ 7

 ศูนย์เด็กเล็ก

 สถานที่ดำเนินการรับเลี้ยงเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี จำนวนตั้งแต่ 6 คนขึ้นไป โดยผู้ดำเนินการมิใช่ญาติกับ

เด็กซึ่งอาจมีคำเรียกแตกต่างกันไป เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์รับเลี้ยงเด็กก่อนเกณฑ์และสถานรับ

เลี้ยงเด็กเป็นต้น ความมุ่งหมายของการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่เพื่อเป็นการยกระดับพื้นฐานชีวิตและ

ความเป็นอยู่ของเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กทุกคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี





ความสำคัญของศูนย์เด็กเล็ก

เป็นการจัดการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็ก 

ให้เด็กมีพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัยความสามารถ

และความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นการสร้างรากฐานชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์

มีคุณค่าต่อตนเองและสังคมตามปรัชญาการศึกษาปฐมวัยของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546



ตัวอย่าง ศูนย์เด็กเล็ก  บ้านเตราะบอน จ.ปัตตานี


เพื่อนนำเสนอกลุ่มที่ 8 




เนื้อหาที่เรียนในวันนี้



            การบริหารงานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

การจัดประเภท และรูปแบบสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในประเทศไทย

1. การจัดแบ่งตามโครงสร้างการบริหารตามขนาด แบ่งเป็น 3 ขนาด คือ


1) โครงสร้างบริหารสถานศึกษาปฐมวัยขนาดเล็ก


2) โครงสร้างบริหารสถานศึกษาปฐมวัยขนาดกลาง


3) โครงสร้างบริหารสถานศึกษาปฐมวัยขนาดใหญ่







การจัดประเภท และรูปแบบสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ในประเทศไทย

2. การแบ่งตามรูปแบบตามพระราชบัญญัติการศึกษาชาติ

(พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 )พ.ศ. 2545

 กล่าวไว้ใน มาตรา 15กำหนดการจัดการศึกษา มี 3 รูปแบบ คือ)

1.รูปแบบในระบบโรงเรียน

2.รูปแบบนอกระบบโรงเรียน

3.รูปแบบตามอัธยาศัย




การบริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในยุคปฏิรูป

ความหมาย การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
(School Based Management)

คือ การบริหารโดยกระจายอำนาจทางการศึกษาไปยังสถานศึกษาโดยตรงให้มีอำนาจหน้าที่ความ

รับผิดชอบและความคล่องตัวในการบริหารจัดการมากที่สุด



สรุปการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 ( School-Based Management )

การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management)

เป็นการถ่ายโอนอำนาจจากหน่วยงานไปให้แก่โรงเรียนได้บริหารแบบ

เบ็ดเสร็จที่โรงเรียนโดยมอบอำนาจการบริหารและจัดการศึกษาให้แก่

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งประกอบด้วยผู้ปกครอง     





ประเมิน

ประเมินอาจารย์ผู้สอน
เข้าสอนตรงตามเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย เนื้อหาที่สอนเข้าใจง่าย
ยกตัวอย่างให้เห็นภาพชัดเจน


 ประเมินเพื่อนร่วมชั้นเรียน
เข้าเรียนตรงตามเวลา เเต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังที่อาจารย์สอน มีส่วนร่วมในชั้นเรียน


 ประเมินตนเอง
เข้าเรียนตรงตามเวลา เเต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังที่อาจารย์สอน มีส่วนร่วมในชั้นเรียน






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น